หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑๔)
ในชั้นนี้โดยรวมแล้วเราพบหลักฐานธรรมกายในประเทศไทยทั้งหมด ๑๔ ชิ้น แบ่งเป็นศิลาจารึก ๖ หลัก จารึกลานเงิน ๑ ชิ้นคัมภีร์จารึกใบลานหนังสือพับสารวม ๖ คัมภีร์และในรูปแบบหนังสืออีก ๑ เล่ม
เราจะพัฒนาตนเองให้มีศักยภาพในการเผยแผ่พระพุทธศาสนาได้อย่างไร ?
ถ้าเราช่วยกันเผยแผ่พระพุทธศาสนาได้อย่างนี้ จึงจะเรียกได้ว่าเป็นการจรรโลงโลกไว้ให้เป็นสถานที่ที่มนุษย์มีโอกาสสร้างความสุขความเจริญให้แก่ชีวิตตนต่อไปได้
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑๕)
สืบเนื่องจากที่ผู้เขียนนำเสนอบทความ “การค้นพบหลักฐานธรรมกายจากเอกสารโบราณในประเทศไทย” ฉบับเดือนกรกฎาคมที่ผ่านมา กล่าวคือ คณะนักวิจัยของสถาบันวิจัยนานาชาติธรรมชัย (DIRI) ได้ทำการสืบค้นศึกษาวิจัยจนพบ หลักฐานร่องรอยธรรมกาย จากหลักศิลาจารึก....
ศรัทธาธรรม ย้ำคำอธิษฐาน จารพระคัมภีร์
การอธิษฐานจิต คือ การตั้งผังสำเร็จขึ้นมาในใจ โดยอาศัยผลของบุญที่ทำในแต่ละครั้งมาเป็นพลวปัจจัยส่งเสริมให้สิ่งที่ตั้งใจไว้ดีแล้วสำเร็จสมปรารถนา เพราะเมื่อประกอบความดีแม้เพียงเล็กน้อย บุญย่อมส่งผลแก่ผู้กระทำไม่ว่าผู้นั้นจะตั้งจิตปรารถนาหรือไม่ก็ตาม แต่หากไม่อธิษฐานจิตกำกับให้ดี
ใบลานเถรวาทจารพระศาสน์สืบสายคัมภีร์
เถรวาท เป็นชื่อของนิกายที่เก่าแก่ที่สุดในพระพุทธศาสนา โดยศัพท์แปลว่า “ตามวาทะของพระเถระ” ซึ่งหมายถึงพระอรหันต์ขีณาสพ ๕๐๐ รูป ผู้ทำปฐมสังคายนา ณ ถ้ำสัตบรรณคูหา หลังพุทธปรินิพพาน ๓ เดือน เป็นนิกายหลักที่นับถือในประเทศศรีลังกา และประเทศในแผ่นดินเอเชียตะวันออกเฉียงใ
วัดพระธรรมกายสกอตแลนด์ จัดงานบุญบูชาข้าวพระอาทิตย์ต้นเดือน
วัดพระธรรมกายสกอตแลนด์ ได้จัดพิธีบูชาข้าวพระประจำอาทิตย์ต้นเดือนกรกฎาคม โดยในครั้งนี้ได้มีชาวท้องถิ่นที่เคยมาร่วมปฏิบัติธรรมทุกวันเสาร์ให้ความสนใจมาร่วมพิธีตั้งแต่เช้ามืด พร้อมนำอาหารหวานคาวมาร่วมบูชาข้าวพระอีกด้วย
กิจกรรมวันอาสาฬหบูชา มีอะไรบ้าง
แถลงข่าวคณะศิษยานุศิษย์วัดพระธรรมกาย ประจำวันที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2559
เนื่องด้วยนายไพบูลย์ นิติตะวัน และพระสุวิทย์ วัดอ้อน้อย ซึ่งเป็นตัวตั้งตัวตีในการกดดันให้ดำเนินคดีกับพระเทพญาณมหามุนีนั้น เป็นผู้ต้องหาในคดีกบฏจากการ shut down กรุงเทพฯ ตามสำนวนคดีพิเศษที่ ๒๖๑/๒๕๕๖ คณะศิษยานุศิษย์วัดพระธรรมกายจึงขอเรียนถามความคืบหน้าในการดำเนินคดีดังกล่าว และพฤติกรรมที่เกี่ยวข้องจากกรมสอบสวนคดีพิเศษ ดังนี้
คารวะ ๖
ศัพท์ว่า "คารวะ" แปลกันว่า ความเคารพ หมายถึงความเอื้อเฟื้อ มักจะพูดติดต่อกันว่า ความเคารพเอื้อเฟื้อและมักจะใช้คู่กับคำว่า "นับถือบูชา" โดยความหมาย ก็คือ การปฏิบัติดีปฏิบัติชอบยกย่องเชิดชู ไม่ลบหลู่ดูหมิ่น ในบุคคลนั้นๆ และในธรรมนั้นๆ
เราจะปลูกฝังให้ลูกหลานทำหน้าที่ชาวพุทธให้สมบูรณ์ได้อย่างไร ?
ก่อนที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าจะเสด็จดับขันธปรินิพพานนั้น พระองค์ทรงมอบหน้าที่สำคัญยิ่งให้แก่ชาวพุทธไว้ ๔ ประการ โดยตรัส เรื่องนี้กับพระอานนท์ พุทธอุปัฏฐาก เพื่อให้นำไปประกาศให้ชาวพุทธรับรู้รับทราบและปฏิบัติตามกันอย่างทั่วถึง